วันศุกร์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

เริ่มต้น !! ปฐมนิเทศ

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕                                                                             กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓                                                                                                                 ภาคเรียนที่ ๑
เวลา  ๖๐ ชั่วโมง                                                                                                       จำนวน  ๑.๕  หน่วยกิต
ศึกษาคำศัพท์จากการอ่านหนังสือและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ อ่านร้อยแก้วและร้อยกรอง อ่านทำนองเสนาะ ท่องบทอาขยาน อ่านในใจ จับใจความสำคัญ ตีความ วิเคราะห์ความ สรุปความ โดยใช้บริบท การเล่าเรื่อง ย่อเรื่อง อ่านตรวจสอบความรู้และอ่านเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ เขียนสะกดคำ เลือกใช้คำตรงความหมายเรียบเรียงคำเป็นข้อความตามระดับของภาษาเขียนเรียงความ ย่อความ เขียนจดหมายธุรกิจ เขียนอธิบาย บรรยาย   แสดงความคิดเห็น รายงาน โครงงาน เขียนเลขไทย มารยาทในการเขียน การพูดเสนอความรู้ ความคิด วิเคราะห์ข้อเท็จจริงข้อคิดเห็น การพูดในโอกาสต่างๆ ศึกษาคำสมาส การใช้คำราชาศัพท์ คำสุภาพ คำศัพท์ทางวิชาการ ทางเทคโนโลยีการสื่อสาร เพลงพื้นบ้านในท้องถิ่น แต่งคำประพันธ์ประเภทกาพย์และกลอน อ่านกวีนิพนธ์ประเภทกาพย์ โคลง บทละคร วรรณกรรมประเภทเรื่องสั้น บทความ สารคดี บันทึก พงศาวดาร และใช้หลักการพินิจวรรณคดีและวรรณกรรม เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีจิตสำนึก รักความเป็นไทย อนุรักษ์ภาษาไทย  มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย  มีจิตสาธารณะ บนพื้นฐานเศรษฐกิจ               พอเพียง
                โดยการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง วิเคราะห์ วิจารณ์และประเมินเรื่องที่อ่าน เขียนข้อความได้ถูกต้องตามระดับภาษา   เขียนย่อความ  เขียนจดหมายกิจธุระ เขียนอธิบาย เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์     แสดงความรู้ ความคิดเห็น และจากเรื่องที่ฟังและดูเพื่อหาข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต จำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทยแต่งบทร้อยกรองได้ สรุปและวิเคราะห์ คุณค่าจากวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
          ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาการดำเนินชีวิต ใช้กระบวนการเขียน เขียนเรียงความในรูปแบบต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณและพูดในโอกาสต่างๆได้อย่างสร้างสรรค์ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและ  หลักภาษาไทย ภูมิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติเข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำมา                                             ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้
     ทั้งนี้ให้ศึกษาเรื่องศีล สมาธิ ปัญญา เพื่อปลูกฝังความรับผิดชอต่อตนเอง ต่อสังคมส่วนรวม ต่อเศรษฐกิจและ               สิ่งแวดล้อม

รหัสตัวชี้วัด
ท ๑.๑    ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/,ม.๓/๕,ม.๓/๖,ม.๓/๗,ม.๓/๘,ม.๓/๙,ม.๓/๑๐
ท ๒.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/,ม.๓/๕,ม.๓/๖,ม.๓/๗,ม.๓/๘,ม.๓/๙
ท ๓.๑    ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/,ม.๓/๕,ม.๓/
ท ๔.๑    ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/,ม.๓/๕,ม.๓/
ท ๕.๑    ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/
รวมทั้งหมด   ๓๕    ตัวชี้วัด 

สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ท ๑.๑      การอ่าน
ท ๒.๑    การเขียน
ท ๓.๑     การฟัง ดู และการพูด
ท ๔.๑     หลักการใช้ภาษาไทย
ท ๕.๑     วรรณคดีและวรรณกรรม


โครงสร้างรายวิชา
วิชา  ท ๒๓๑๐๑   ภาษาไทย ๕    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓     ภาคเรียนที่  ๑   ปีการศึกษา  ๒๕๕     กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

หน่วยที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เวลา
(ชั่วโมง)
น้ำหนักคะแนน
๑. สมบัติ
วรรณคดีไทย
๒.บท
ละครพูด
เห็นแก่ลูก
๓. นิทานคำกลอนเรื่องพระอภัยมณี
ตอน
พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อสมุทร
๔. พระบรม
ราโชวาท













มาตรฐาน  ท ๑.๑                 
ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรัก การอ่าน
ตัวชี้วัด
ม.๓/๑  อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรองได้ถูกต้องและเหมาะสมกับเรื่อง ที่อ่าน
ม.๓/๒ระบุความแตกต่าง                  
ของคำที่มีความหมาย
โดยตรงและความหมายโดยนัย
ม.๓/๓  ระบุใจความสำคัญและรายละเอียดของข้อมูลที่สนับสนุนจากเรื่องที่อ่าน
ม.๓/๔  อ่านเรื่องต่างๆแล้วเขียนกรอบแนวคิด  ผังความคิด  บันทึก  ย่อความ  และรายงาน
ม.๓/๗ วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลำดับความและความเป็นไปได้ของเรื่อง
ม.๓/๙ ตีความและประเมินคุณค่า                   
และแนวคิด ที่ได้จางานเขียนอย่าหลากหลายเพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาใชีวิต
ม.๓/๑๐  มีมารยาทใน การอ่าน
- การอ่าออกเสียงประกอบ ด้วย  บทร้อยแก้วที่เป็นบทความทั่วไปและบทความปกิณกะ  บทร้อยกรอง เช่น กลอนบทละครพูด
-  การอ่าน จับใจความจากสื่อต่างๆ เช่น วรรณคดีในบทเรียน  ข่าวและเหตุการณ์สำคัญ บทความ สารคดี  สารคดีเชิงประวัติ
-  มารยาทในการอ่าน
๒๐
๒๐
(หน่วย ๑๕
กลางภาค ๕)
หน่วยที่
ชื่อหน่วย
การเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เวลา
(ชั่วโมง)
น้ำหนักคะแนน


มาตรฐาน  ท ๒.๑                          ใช้กระบวนการเขียนสื่อสาร  เรียงความ ย่อความและเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด
ม.๓/๒ เขียนข้อความโดยใช้ถ้อยคำได้ถูกต้องตามระดับภาษา
ม.๓/๓ เขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติโดยเล่า
เหตุการณ์ ข้อคิดเห็น
และทัศนคติในเรื่องต่างๆ
ม.๓/๔ เขียนย่อความ
ม.๓/๕ เขียนจดหมายกิจธุระ
ม. ๓/๖ เขียนอธิบาย
ชี้แจง  แสดงความคิดเห็น
และโต้แย้งอย่างมีเหตุผล
ม.๓/๗ เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์  และแสดงความรู้ ความคิดเห็น  หรือโต้แย้ง ในเรื่องต่างๆ
ม.๓/๘ กรอกแบบสมัครงานพร้อมเขียนบรรยายเกี่ยวกับความรู้และทักษะของตนเองที่เหมาะสมกับงานโครงงาน
ม. ๓/๙ เขียนรายงาน
การศึกษค้นคว้า            
และโครงงาน
. ๓/๑๐ มีมารยาทใน          
การเขียน

มาตรฐาน ท ๓.๑                  
สามารถเลือกฟังและดู อย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
ม.๓/๑  แสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่องจากการฟังและการดู
ม. ๓/๒ วิเคราะห์และ
วิจารณ์เรื่องที่ฟังและดู          
เพื่อนำข้อคิดมาประยุกต์ใช้                  
ในการดำเนินชีวิต
ม.๓/๔ พูดในโอกาสต่างๆได้ตรงตามวัตถุประสงค์
ม.๓/๕ พูดโน้มน้าว
โดยนำเสนอหลักฐานตาม
ลำดับเนื้อหาอย่างมีเหตุผล
และน่าเชื่อถือ
ม. ๓/๖ มีมารยาท ในการฟัง การดู และการพูด
-   การเขียนข้อความตามสถานการณ์และโอกาสต่างๆ เช่น  การเขียนเรียงความ
การเขียนรายงาน
-  การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ
-  การเขียนจดหมายกิจธุระ
-  การเขียนวิเคราะห์วิจารณ์และแสดงความรู้ความคิดเห็นหรือโต้แย้งจากสื่อต่างๆ เช่น บทโฆษณา บทความทางวิชาการ

















-  การพูดแสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่องจากการฟังและการดู
-  การพูดในโอกาสต่างๆ
-  มารยาทใน การฟัง 
การดู  และ การพูด
๑๕






























๑๕
(หน่วย ๑๐ กลางภาค ๕)




























๑๕
(หน่วย ๑๕)



มาตรฐาน ท ๔.๑                   เข้าใจธรรมชาติของภาษาและพลังของภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
ม.๓/๓  วิเคราะห์ ระดับภาษา
ม.๓/๔  ใช้คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
ม.๓/๕  อธิบายความหมายของศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ
-  ระดับภาษา
-  คำทับศัพท์, คำศัพท์บัญญัติ
-  คำศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ

๑๐
(หน่วย ๕ กลางภาค ๕)


มาตรฐาน  ท ๕.๑                  เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำมาประยุกต์ใช้ ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด
ม.๓/๑  สรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่นในระดับที่ยากยิ่งขึ้น
ม. ๓/๒ วิเคราะห์วิถีไทย และคุณค่
จากวรรณคดี  และวรรณกรรมที่อ่าน
ม.๓/๓  สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ม. ๓/๔ ท่องจำและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่
กำหนดและบทร้อยกรอง               
ที่มีคุณค่าตามความสนใจ
และนำไปใช้อ้างอิง
- วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นเกี่ยวกับ ศาสนา  ประเพณี  พิธีกรรม เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ 
บันเทิงคดี

- วิเคราะห์วิถีไทย และคุณค่าจากวรรณคดีและวรรณกรรม

๑๙
๑๐
(หน่วย ๕ กลางภาค ๕)
ระหว่างภาค
๕๙
๗๐
ปลายภาค
๓๐
รวม
๖๐
๑๐๐



การวัดและการประเมินผล 

คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน

คะแนนมาจากไหนบ้าง ?
ระหว่างเรียน ๑
(คะแนนเก็บ)
สอบกลางภาค
ระหว่างเรียน ๒
(คะแนนเก็บ)
สอบปลายภาค

๒๕ คะแนน
๒๐ คะแนน
๒๕ คะแนน
๓๐ คะแนน
* มีการทดสอบหลังเรียนทุกครั้งเมื่อเรียนจบบทเรียนทุกเรื่อง
คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ประกอบด้วย
๑. รักชาติ  ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สุจริต
. มีวินัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
. มุ่งมั่นในการทำงาน
๗. รักความเป็นไทย
. มีจิตสาธารณะ
คะแนนการอ่านคิดวิเคราะห์


*เกณฑ์การตัดสินผลการเรียน*
คะแนน
เกรด
๘๐ – ๑๐๐
๗๕ – ๗๙
๓.๕
๗๐ – ๗๔
๖๕ – ๖๙
๒.๕
๖๐ – ๖๔
๕๕ – ๕๙
๑.๕
๕๐ – ๕๔
๐ – ๔๙

ข้อตกลงร่วมกันในการเรียนการสอน
       ๑. เข้าห้องเรียนตรงตามเวลา หรือสายไม่เกิน ๑๐ นาที หากเกินเวลาถือว่าขาดเรียน
       ๒. ส่งงานตรงตามเวลาที่ครูกำหนด ถ้าไม่ส่งตรงตามที่กำหนดจะถูกตัดคะแนนลง
๓. มีความซื่อสัตย์ไม่ลอกงานเพื่อน หากครูพบว่ามีการลอกงานส่งจะไม่ได้คะแนน
ทั้งผู้ลอกและผู้ให้ลอก
๔. ไม่พูดคุยหรือเล่นกันในขณะครูสอนหรือทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม
๕. ไม่นำอาหารและเครื่องดื่มทุกชนิดมารับประทานในห้องเรียน
๖.ไม่ทำงานอื่นขณะครูสอนในคาบเรียน หากเตือนแล้วไม่ปฏิบัติตามจะตัดคะแนนในบทเรียนนั้น
๗. แต่งกายสุภาพเรียบร้อยและพูดจาไพเราะมีหางเสียง
๘. นักเรียนสามารถเข้าพบเพื่อปรึกษาเรื่องการเรียนได้ในห้องพักครู
๙. ขณะเรียนปิดอุปกรณ์สื่อสารทุกชนิด

1 ความคิดเห็น: